วิเคราะห์วรรณกรรมท้องถิ่นเชิงเปรียบเทียบ(สรุป)

วิชาวรรณกรรมท้องถิ่นเชิงเปรียบเทียบ แบ่งออกเป็น 9 บท โดยมีเนื้อหาสรุปดังนี้

บทที่ 1 ลักษณะของวรรณกรรมท้องถิ่น,ความแตกต่างของวรรณกรรมท้องถิ่นกับวรรณคดีแห่งชาติ และนวนิยาย, ชาวไทยในอดีตเรียนรู้วรรณกรรมท้องถิ่นด้วยวิธีใด และความสำคัญของวรรณกรรมท้องถิ่นมีต่อสังคมในอดีตอย่างไร

บทที่ 2 การแพร่กระจายและโครงสร้างของนิทานท้องถิ่น,ภาษาถิ่นและอักษรท้องถิ่น ,รูปแบบฉันทลักษณ์ของวรรณกรรมท้องถิ่นแต่ละภูมิภาค

บทที่ 3 ลักษณะของปริศนาคำทาย และสำนวนสุภาษิต

 บทที่ 4  ลักณะโดยทั่วไปของเพลงพื้นบ้านแต่ละภูมิภาค

บทที่ 5- บทที่ 8 ลักษณะของวรรณกรรมท้องถิ่น 4 ภาค ทัศนะสังคมของวรรณกรรมท้องถิ่นแต่ละภาค

 บทที่ 9  การแพร่กระจายวรรณกรรมท้องถิ่นไทยและการพัฒนานิทานพื้นบ้านเป็นวรรณกรรมลายลักษณ์

วัตถุประสงค์

  1.เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบลักษณะโดยทั่วไปของวรรณกรรมท้องถิ่นในแต่ละภูมิภาค

  2.เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ แยกความแตกต่างโดยทั่วไปของวรรณกรรมท้องถิ่นในแต่ละภูมิภาคได้

  3.เพื่อให้ผู้เรียนได้รู้จักลักษณะภาพรวมของวรรณกรรมท้องถิ่นในแต่ละภูมิภาคได้เป็นอย่างดี

centered image